ตัวช่วยเลือกหุ้น

เตือนสติตัวเองหน่อย การเลือกหุ้นสักตัวนึง จะดูเรื่องอะไรบ้าง

ประเภทหุ้น
1. หุ้นโตช้า (Slow growers) การเติบโตของกำไรจะสูงกว่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเล็กน้อย ประมาณ 2-4% ต่อปี  ให้ซื้อที่ PE ต่ำและหวังปันผลเป็นหลัก
2. หุ้นแข็งแกร่ง (Stalwarts) บริษัทที่แข็งแกร่งมีอัตราการเติบโตประมาณ 10 - 20% ต่อปี  เหมาะที่จะถือระยะยาว
3. หุ้นโตเร็ว (Fast growers) บริษัทขนาดเล็กขนาดกลางที่มีอัตราการเติบโตที่สูงมากประมาณ 20 -25% ต่อปี เป็นหุ้นที่เหมาะจะถือในระยะยาว
4. ประเภทขึ้นลงตามวัฎจักร (Cyclicals) บริษัทที่กำไรขึ้นลงตามสภาวะเศรษฐกิจ
5. ประเภทเริ่มฟื้นตัว (Turnarounds) บริษัทที่ประสบปัญหา แต่มีสัญญาณแห่งการฟื้นตัวที่ชัดเจน
6. ประเภทสินทรัพย์แฝง (Asset plays) บริษัทที่ราคาหุ้นต่ำกว่ามูลค่าของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีที่เราทราบแต่อีกหลายคนในตลาดยังไม่ทราบ เช่น  ที่ดินที่มีอยู่อาจมีมูลค่าตลาดสูงมาก  แต่บันทึกบัญชีเป็นราคาทุน  หรือในบริษัทประกันภัยที่ตั้งสำรองเงินประกันสูงๆ 


เรื่องของสินค้า การซื้อการขาย ลูกค้า คู่ค้า

1 สินค้าที่ใช้แล้วหมดไป

อย่างพวกสินค้าที่เป็นหิน ปูน เหล็ก ผ้า พลาสติก(ไม่รวมพวกถุง ขวดหรืออุปกรณ์ใช้แล้วทิ้ง) อุปกรณ์อิเล็กโทรนิค เฟอร์นิเจอร์ บ้าน คอนโด รถยนต์ ยางพารา สินค้าพวกนี้เหนื่อย กว่าลูกค้าจะกลับมาซื้อใหม่ใช้ใหม่ เหงือกแห้ง

แต่ถ้าเป็นพวก อาหาร น้ำมัน ถ่านหิน พวกนี้ก็ใช้ทีเดียวก็หมดแล้ว หรือพวกบริการบางชนิด เช่น การใช้เช่าสินค้า หรือพื้นที่ การให้บริการโทรศัพท์ พวกนี้

2 สินค้าทดแทน

อย่าง สินค้าโภคภัณฑ์ ถ่าน น้ำมัน อาหารสด อาหารสัตย์ บริการต่างๆ พวกนี้จะมีการทดแทนได้ง่าย ถ้าไม่มีแบรนจนทำให้คู่แข็งเข้ามาไม่ได้ ก็แย่แน่นอน อย่างกรณีนี้ ควรเลือกบริษัทที่ใหญ่ เนื่องจากขนาดใหญ่จะช่วยทำให้ต้นทุนประหยัดกว่ามาก

ธุรกิจที่รับจ้างทำสินค้า ก็ไม่ค่อยจะดีเท่าไร แม้ว่าขนาดจะใหญ่ก็ตาม แต่ถ้าที่ต่างประเทศราคาถูกกว่า หรือเงินบาทแข็ง ก็จบ เช่น ธุรกิจทำผ้า ทำชิ้นส่วนต่างๆ ที่รับงานจากบริษัทต่างชาติมาอีกทีนึง สักวันนึงเขาก็ต้องย้ายฐานการผลิตไปประเทศที่ค่าแรงถูกกว่าอยู่ดี

ธุรกิจที่มีสิทธิ์โดนสินค้าอื่นมาทดแทนเลย ก็ต้องระวัง เช่นกล้องฟิล ที่ถูกทดแทนจากกล้องดิจิตอล ยังไงก็กู่ไม่กลับแล้วล่ะ

นอกจากนั้น สินค้าโภคภัณฑ์ ก็ต้องระวังอีกจุดนึงคือ การซื้อที่ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงมากๆ เพราะบริษัทมันได้กำไรจากส่วนต่างของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ซึ่งไม่ควรนับเป็นกำไรจริงๆ เพราะไม่ใช่ความสามารถของบริษัทเลย

3 สินค้าที่มีแบรน และคนซื่อสัตย์ในแบรนด้วย

อย่างที่มีแบรนแข็งๆ ก็มี CPALL ที่ทำให้คู่แข่งเปิดร้านแข่งแทบเจ็งเลย อย่าง CPN ที่เปิดที่ไหน คนก็แห่ตามไปกันหมด ไม่เหมือนห้างnoname เปิดไปก็มักจะเจ็ง หรือ CPF PTT ที่ทำต้ังแต่ต้นน้ำยันปลายน้ำ ก็ทำให้ต้นทุนต่ำมาก (กรณี PTT มักจะมีปัญหาทางการเมืองบ่อยระวังด้วย)


อำนาจในการต่อรองจากซัพพลายเออร์

คู่ค้า หมายถึง คนที่เราซื้อของและบริการ จากเขามา (คิดเองนะ)
ควรมีหลายๆเจ้า อย่างน้อยๆ ก็มีสัก 5เจ้าขึ้นไป อย่าให้มีเจ้าไหนมากกว่า 20% เพราะอาจโดนคุมราคาได้
ถ้ามีมากๆ ยิ่งดี เพราะนอกจากความเสี่ยงที่จะสูญเสียลูกค้า ยังมีความสามารถในการควบคุมราคาได้อีกด้วย
ต้องระวังด้วย อย่าพวกรับผลิตชิ้นส่วน หรือ ผ้า พวกนี้เหมือนจะรับได้หลายบริษัท แต่ถ้าค่าแรงขึ้น เงินบาทแข็ง ก็อาจพร้อมใจกับยกเลิกก็ได้
หรือมีลูกค้า คู่ค้าในต่างประเทศ แต่ถ้าลูกค้าคู่ค้า อยู่ในประเทศเดียวกันหมด อาจเกิดปันหาได้ (เช่นประเทศนั้นกำลังเกิดภัยวิบัติ)


อำนาจการต่อรองจากลูกค้า

ลูกค้า หมายถึง คนที่ซื้อของและบริการ จากเราไป (คิดเองนะ)
เหมือน คู่ค้า

การแข่งขันภายในอุตสาหกรรม


บริษัทอื่นที่ทำสินค้า บริการเหมือนกัน ลองเทียบบัญชีต่างๆดู เทียบสินค้า เทียบความนิยมดู

การเข้ามาแข่งขันของผู้เล่นรายใหม่

8 วัตถุดิบ การสินค้าโภคภัณฑ์

บรรทึกไว้ เนื่องจากสินค้า โภคภัณฑ์ มีความผั่นผวนของราคาสูง บริษัทไหนที่มีสินค้าโภคภัณฑ์ เกี่ยวข้อง ต้องดูราคาเป็นส่วนประกอบด้วย

9 โอกาสการเติบโตของสินค้า บริการ

บริษัทที่ไม่โต จะเป็นการทำลายมูลค่าของผู้ถือหุ้นเองด้วย

SWOT analysis
การวิเคราะห์บริษัทสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอกและสภาพแวดล้อมภายใน
- Strengths  จุดแข็ง
- Weaknesses  จุดอ่อน
- Opportunities  โอกาส
Threats  ความเสี่ยง


เรื่องของตัวบริษัท งบการเงิน

งบรวม

1 สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น

เทียบคร่าวๆ ว่าดีหรือไม่

2 รายได้ กำไร

เรื่องของรายได้ต่อสินทรัพย์
กำไรสุทธิ (ดูความแข็งแรงด้วยนะ)

3 ROA ROE 

ROA ROE ว่าน้อยไปไม 


อัตรากำไรสุทธิ

เยอะก็ดี ถ้าน้อยก็ดูว่าแข็งแรงเปล่า 

งบดุล

งบกำไรขาดทุน

งบกระแสเงินสด



Five Force: โรงพยาบาล

1. Rivalry Among Current Competitors: การแข่งขันกันระหว่างคู่แข่งภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน
2. Bargaining Power of Suppliers: อำนาจต่อรองของ Supplier
3. Bargaining Power of Customers: อำนาจต่อรองของลูกค้า
4. Threat of Substitute Products or Services: ภัยคุกคามจากสินค้าทดแทน
5. Threat of New Entrance: ภัยคุกคามจากผู้แข่งขันหน้าใหม่




No comments:

Post a Comment